เกี่ยวกับเรา
นักลงทุนสัมพันธ์
ติดต่อเรา
กลุ่มการเงิน
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด
บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน)
โทร 1327
TH
EN
ลูกค้าบุคคล
ลูกค้า SME
ลูกค้าธุรกิจ
ดิจิทัลแบงก์กิ้ง
LHB You
Profita
LHB Rewards
LH Bank Speedy
เกี่ยวกับเรา
นักลงทุนสัมพันธ์
ติดต่อเรา
กลุ่มการเงิน
บริษัท แอล เอช ไฟแนนซ์เชียล กรุ๊ป จำกัด (มหาชน)
บริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุน แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด
บริษัทหลักทรัพย์ แลนด์ แอนด์ เฮ้าส์ จำกัด (มหาชน)
โทร 1327
โทร 1327
EN
TH
เงินฝาก
เงินฝากทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
เงินฝากออมทรัพย์ดิจิทัล
เงินฝากออมทรัพย์
เงินฝากปลอดภาษี
เงินฝากประจำ
เงินฝากกระแสรายวัน
บัญชีเงินตราต่างประเทศ
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
เอกสารแสดงผลิตภัณฑ์ (Product Catalog)
ใบรับเงินฝากประจํา
การคุ้มครองเงินฝากโดยสถาบันคุ้มครองเงินฝาก
แนะนำ
แนะนำ
ออมทรัพย์ดอกเบี้ยสูง
ออมทรัพย์คุ้มครองชีวิต
เงินฝากเพื่ออนาคต
สินเชื่อ
สินเชื่อทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
สินเชื่อส่วนบุคคล Happy Cash
สินเชื่อบ้านใหม่ Happy Home Loan
สินเชื่อบ้าน Refinance
สินเชื่อ Happy Home For Cash
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
สินทรัพย์รอการขาย
อัตราดอกเบี้ยและค่าธรรมเนียมสินเชื่อ
แบบฟอร์มต่างๆ
แนะนำ
แนะนำ
โปรโมชันสินเชื่อ
ประกัน
ประกันทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
ประกันชีวิต
ประกันวินาศภัย
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
ตรวจสอบใบอนุญาตนายหน้าประกันชีวิต
ตรวจสอบใบอนุญาตนายหน้าประกันวินาศภัย
แนะนำ
แนะนำ
ประกันชีวิตควบการลงทุน
ประกันชีวิตแบบตลอดชีพ
ประกันชีวิตแบบบำนาญ
ประกันสัญญาเพิ่มเติมสุขภาพ/อุบัติเหตุ
ประกันชีวิตเพื่อคุ้มครองสินเชื่อ
การลงทุน
การลงทุนทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
เปิดบัญชีซื้อ-ขายหลักทรัพย์ให้กับบริษัทหลักทรัพย์
แจ้งความประสงค์ใช้สิทธิยกเว้นภาษี
โครงการสะสมหุ้น Shares Saving Plan
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
ลิงก์ที่เกี่ยวข้อง
LH Bank Advisory
Weekly Report
แนะนำ
แนะนำ
กองทุนแนะนำ
บริการ
บริการทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
บริการผู้ช่วยแปลภาษา Interpreter Service
บริการสมัครรับเงินปันผล e-dividend เข้าบัญชีธนาคาร กับ TSD
บริการยืนยันตัวตนผ่านตู้ฝากเงินสดอัตโนมัติ
บริการกดเงินไม่ใช้บัตร LH Bank Cardless
บริการฝาก ถอน จ่ายชำระค่าสินเชื่อผ่านตัวแทนธนาคาร
บริการยืนยันตัวตนผ่านระบบ NDID
The Advisory Branch บริการด้านวางแผนการเงินและการลงทุนแบบครบวงจร
บริการเปิดบัญชีเงินฝากด้วยเทคโนโลยีเปรียบเทียบใบหน้า
บริการบัตรเดบิต LH Bank
บริการ LH Bank PromptPay
บริการ LH Bank SMS Alert
บริการจำหน่ายตราสารทางการเงิน
บริการโอนเงิน
บริการให้เช่าตู้นิรภัย
บริการชำระหรือหักบัญชีค่าสาธารณูปโภคต่างๆ
บริการตั๋วแลกเงิน
แนะนำ
แนะนำ
บริการกดเงินไม่ใช้บัตร LH Bank Cardless
ดิจิทัลแบงก์กิ้ง
ดิจิทัลแบงก์กิ้งทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
LHB You
LHB You - สินเชื่อบุคคล Happy Cash
Profita
LHB Rewards
แนะนำ
แนะนำ
LHB You
LHB Membership
LHB Membership ทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
LHB Wealth Plus
LHB Elite
สินเชื่อ
สินเชื่อทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
Product Program
สินเชื่อธุรกิจ
สินเชื่อและบริการการค้าระหว่างประเทศ
สินเชื่อแฟคเตอริ่ง
หนังสือค้ำประกัน
แนะนำ
แนะนำ
LHB BOOST UP
Green Transition Advisory Loan
เครื่องคำนวณสินเชื่อ SME
บัญชีเพื่อธุรกิจ
บัญชีเพื่อธุรกิจทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
เงินฝากกระแสรายวัน
เงินฝากออมทรัพย์
เงินฝากออมทรัพย์ธุรกิจคุ้มค่า
เงินฝากประจำ
ใบรับเงินฝากประจำ
บริการ
บริการทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
บริการ Cash Management
บริการธนาคารทางอินเทอร์เน็ต LH Bank Speedy
The Advisory Branch บริการด้านวางแผนการเงินและการลงทุนแบบครบวงจร
บริการจำหน่ายตราสารทางการเงิน
บริการโอนเงิน
บริการ LH Bank Business PromptPay
บริการชำระหรือหักบัญชีค่าสาธารณูปโภคต่างๆ
บริการตั๋วแลกเงิน
ประกัน
ประกันทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
ประกันชีวิต
ประกันวินาศภัย
การลงทุน
การลงทุนทั้งหมด
ผลิตภัณฑ์
การขายและรับซื้อคืนหน่วยลงทุน
Advisory Service
All Advisory Service
ผลิตภัณฑ์
LHB GAFE
ลูกค้า SME
>
Advisory Service
>
LHB GAFE
ภาษีคาร์บอนใกล้มาถึง! คนไทยพร้อมรับมือหรือยัง?
LHB GAFE
ลักษณะเด่นผลิตภัณฑ์
หลายคนอาจจะเริ่มได้ยินข่าวเกี่ยวกับ "ภาษีคาร์บอน" (Carbon Tax) ที่รัฐบาลกำลังจะเริ่มเก็บในเร็วๆ นี้ กันบ้างแล้ว ในการแถลงข่าวเมื่อวันที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2567 ณ งานแถลงข่าว "สรรพสามิต กรม ESG เปลี่ยนผ่านชุมชน และประเทศเดินหน้าสู่ Net Zero" ดร.เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ อธิบดีกรมสรรพสามิต ได้เสนอแนวทางการจัดเก็บภาษีคาร์บอน (Carbon Tax) ซึ่งรัฐบาลกำลังเร่งผลักดันนโยบาย เพื่อรับมือกับปัญหาการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศ โดยจะเริ่มเก็บภาษีคาร์บอนจากสินค้ากลุ่มน้ำมันและ LPG เป็นกลุ่มแรก คาดว่าจะเริ่มต้นในเดือนตุลาคม 2567
แล้วภาษีคาร์บอนคืออะไร ? ทำไมต้องเก็บ ?
ภาษีคาร์บอน คือ ภาษีที่เก็บจากการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเป็นหนึ่งในก๊าซเรือนกระจกที่ทำให้เกิดภาวะโลกร้อน การเก็บภาษีนี้เป็นเหมือนการ "ใส่ราคา" ให้กับมลพิษ เพื่อกระตุ้นให้ทุกคนหันมาใส่ใจและลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ โดยรัฐบาลหลายประเทศทั่วโลกเริ่มนำภาษีชนิดนี้มาใช้ เพื่อกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก และรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก
อัตราภาษีคาร์บอนของไทยจะอยู่ที่ประมาณ 200 บาทต่อตันคาร์บอน
ซึ่งใกล้เคียงกับประเทศสิงคโปร์ ที่ถือเป็นประเทศแรกในอาเซียนที่เริ่มเก็บภาษีคาร์บอนไปก่อนหน้านี้
เราคำนวณภาษีคาร์บอนสำหรับน้ำมันแต่ละประเภทอย่างไร
การคำนวณนั้นง่ายมาก ตัวอย่างเช่น แก๊สโซฮอล์ E85 มีค่าการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อยู่ที่ 0.00034364 tonCO₂eq ซึ่งเมื่อนำมาคูณกับ 200 บาทต่อตันคาร์บอน ก็จะได้ค่าอยู่ที่ 0.07 บาท หรือ 7 สตางค์
ตารางแสดงตัวอย่างการคำนวณภาษีคาร์บอน
แล้วคนไทยต้องจ่ายค่าน้ำมันแพงขึ้นไหม ?
ไม่ต้องกังวล! รัฐบาลยืนยันว่าภาษีคาร์บอนจะไม่ทำให้ราคาน้ำมันแพงขึ้น เพราะในระยะแรกจะใช้วิธีการ
"แปลงภาษี"
โดยนำภาษีสรรพสามิตน้ำมันส่วนหนึ่งมาเป็นภาษีคาร์บอนแทน
ดร.เอกนิติ นิติทัณฑ์ประภาศ อธิบดีกรมสรรพสามิต ยืนยันว่า ภาษีคาร์บอนจะไม่ทำให้ราคาน้ำมันปรับตัวสูงขึ้นในระยะแรก เนื่องจากในช่วงแรกจะใช้วิธีการ "แปลง" ภาษีสรรพสามิตน้ำมันส่วนหนึ่งมาเป็นภาษีคาร์บอน โดยไม่เพิ่มภาระให้กับประชาชน โดยสามารถอธิบายโดยสรุปได้ดังนี้
• ปกติเติมน้ำมันดีเซล ต้องจ่ายภาษีสรรพสามิต 6.44 บาทต่อลิตร (อัตราสูงสุด)
• เมื่อภาษีคาร์บอนของน้ำมันดีเซลเท่ากับ 0.54 บาท ก็จะรวมภาษีคาร์บอน 0.54 บาท นี้ ไว้ใน 6.44 บาทนั้นเลย ดังนั้น ราคาน้ำมันก็จะไม่เปลี่ยนแปลง
เติมน้ำมันทีไร ก็รู้เลยว่าปล่อยคาร์บอนเท่าไหร่
กรมสรรพสามิตวางแผนจะร่วมมือกับผู้ประกอบการปั๊มน้ำมัน เพื่อแสดงข้อมูลปริมาณคาร์บอนไดออกไซด์ที่ปล่อยออกมาจากการเติมน้ำมันทุกครั้ง ซึ่งจะช่วยสร้างความตระหนักรู้ให้กับผู้บริโภค
แล้วคนไทยได้อะไรจากภาษีคาร์บอน?
• ช่วยลดโลกร้อน
• ไทยจะเป็นประเทศที่ 2 ในอาเซียน (ถัดจากสิงคโปร์) ที่มีภาษีคาร์บอน ซึ่งเป็นการแสดงถึง ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมในระดับสากล และสร้างโอกาสทางธุรกิจได้อีกมาก
• ผู้ประกอบการไทยที่ส่งออกสินค้าไปยุโรปหรือประเทศอื่นๆ ในอนาคต สามารถนำภาษีคาร์บอนที่จ่ายในไทยไปลดหย่อนภาษีคาร์บอนที่ต้องจ่าย ณ ต่างประเทศได้ (CBAM)
ส่งออกไปยุโรป อเมริกา ก็หายห่วง!
สำหรับผู้ประกอบการที่ส่งออกสินค้าไปยังประเทศที่เก็บภาษีคาร์บอนข้ามพรมแดน เช่น สหภาพยุโรป (EU) และสหราชอาณาจักร (UK) สามารถนำภาษีคาร์บอนที่จ่ายในไทยไปใช้เป็นหลักฐานในการลดหย่อนภาษี Carbon Border Adjustment Mechanism (CBAM) หรือ กลไกการปรับคาร์บอนข้ามพรมแดน ได้อีกด้วย
แล้วเราควรเตรียมตัวอย่างไรดี?
• ศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับภาษีคาร์บอน
• ติดตามข่าวสารและนโยบายภาษีคาร์บอนอย่างสม่ำเสมอ
• ร่วมมือกันลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ เช่น ใช้รถยนต์น้อยลง ประหยัดพลังงาน
สำหรับผู้ประกอบการที่ส่งออกสินค้าไปยังประเทศที่เก็บภาษีคาร์บอนข้ามพรมแดน เช่น สหภาพยุโรป (EU) และสหราชอาณาจักร (UK) สามารถนำภาษีคาร์บอนที่จ่ายในไทยไปใช้เป็นหลักฐานในการลดหย่อนภาษี Carbon Border Adjustment Mechanism (CBAM) หรือ กลไกการปรับคาร์บอนข้ามพรมแดน ได้อีกด้วย
แหล่งอ้างอิง
กรมสรรพสามิต. การจัดเก็บภาษีคาร์บอน, 2567. จาก. https://newweb.excise.go.th/carbon-tax
ประชาชาติธุรกิจ. สรรพสามิตชง ครม. เก็บภาษีคาร์บอนสินค้า “น้ำมัน” ยันไม่กระทบประชาชน-รายได้รัฐ, 2567.
จาก. https://www.prachachat.net/finance/news-1663906
Posttoday “ภาษีคาร์บอน” เพราะการปล่อยมลพิษมี “ราคา” ที่ต้องจ่าย, 2567.
จาก. https://www.posttoday.com/smart-city/714113
สำนักข่าวอิศรา. ‘สรรพสามิต’ ชง ‘ครม.’ เก็บ ‘ภาษีคาร์บอน’ ชาติที่ 2 ในอาเซียน-ย้ำไม่กระทบราคาขายปลีกฯ, 2567.
จาก. https://www.isranews.org/article/isranews-news/132167-mof-Carbon-Tax-news.html
หมายเหตุ
บทความฉบับนี้จัดทำขึ้นเพื่อเผยแพร่ทั่วไป โดยอ้างอิงจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ อย่างไรก็ตาม บริษัทฯ มิอาจรับรองความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ หรือความสมบูรณ์ของข้อมูลเพื่อใช้ในทางการค้าหรือประโยชน์อื่นใด บริษัทฯ อาจมีการเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้ตลอดเวลาโดยไม่ต้องแจ้งให้ทราบล่วงหน้า ทั้งนี้ ผู้ใช้ข้อมูลควรใช้ความระมัดระวังในการพิจารณาข้อมูลต่างๆ ด้วยวิจารณญาณของตนเอง และรับผิดชอบต่อความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้น บริษัทฯ จะไม่รับผิดชอบต่อความเสียหายใดๆ ที่เกิดจากการใช้ข้อมูลในบทความนี้ ดังนั้น ข้อมูลในบทความนี้จึงไม่ถือเป็นการให้ความเห็นหรือคำแนะนำในการตัดสินใจทางธุรกิจแต่อย่างใด
เรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
บัญชีเงินฝากเงินตราต่างประเทศ (FCD)
สกุลเงิน USD ทางเลือกรับผลตอบแทนสูง
รายละเอียด
โปรโมชันลูกค้าใหม่
เปิดบัญชีออมทรัพย์ดิจิทัล ขั้นต่ำ 500 บาท รับ e-Voucher 50 บาท!
รายละเอียด
พิเศษ! สำหรับลูกค้าใหม่
บัญชีฝากประจำพิเศษ ดอกเบี้ยสูง...เลือกได้
รายละเอียด
ดูล่าสุด
12:00 20/05/2564
ใครที่กำลังมีคำถามในใจว่าจะเลือกลงทุน ในกองทุนประเภทไหนดี? ระหว่างกองทุน SSF และกองทุน RMF
การแจ้งเตือนคุกกี้
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อวัตถุประสงค์ในการปรับปรุงประสบการณ์ของผู้ใช้ให้ดียิ่งขึ้น ท่านสามารถศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับประเภทของคุกกี้ที่เราจัดเก็บ เหตุผลในการใช้คุกกี้ และวิธีการตั้งค่าคุกกี้ได้ใน
ประกาศเกี่ยวกับคุกกี้
และ
ประกาศความเป็นส่วนตัว
เรียนรู้เพิ่มเติม
คุกกี้ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่ง
คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการทำงานของเว็บไซต์ของเราเพื่อให้สามารถทำงานตามคุณสมบัติต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง เราอาจจะใช้คุกกี้ประเภทนี้เพื่อยืนยันตัวตนของผู้ใช้บริการและเพื่อป้องกันการเข้าใช้งานโดยมิชอบของบัญชีของผู้ใช้ บรรดาคุกกี้เหล่านี้ทำให้เราสามารถที่จะให้บริการแก่ท่าน เช่น การอำนวยความสะดวกในการทำธุรกรรมด้วยการสื่อสาร\rผ่านเครือข่ายหรือการให้บริการออนไลน์ตามที่ท่านร้องขอได้
คุกกี้เพื่อประสิทธิภาพ
คุกกี้ประเภทนี้จะถูกนำมาใช้เพื่อวัตถุประสงค์ช่วยให้ผู้ใช้บริการได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น คุกกี้ประเภทนี้จะช่วยให้เราเข้าใจถึงลักษณะการเข้าใช้งานเว็บไซต์ของผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเรา ซึ่งช่วยให้เราสามารถพัฒนาปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์และการนำเสนอเนื้อหาของเว็บไซต์ต่อผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ได้ดียิ่งขึ้น
คุกกี้ของบุคคลที่สาม
นอกเหนือจากคุกกี้ที่มีความจำเป็นอย่างยิ่งและคุกกี้เพื่อประสิทธิภาพแล้ว เราได้ใช้คุกกี้ของบุคคลที่สามที่หลากหลาย เพื่อการรายงานสถิติของการใช้งานบริการ การนำเสนอโฆษณาผ่านการให้บริการเว็บไซต์ของเราและผ่านบริการอื่นๆ ข้อมูลคุกกี้ประเภทนี้จะถูกใช้โดยบุคคลที่สาม ได้แก่ เครือข่ายโซเชียล อาทิเช่น Facebook, Google และ Adobe Analytic นอกจากนี้ อาจถูกใช้โดยคู่ค้าของเรา พร้อมทั้งการช่วยเหลือจากผู้ที่ดูแลเรื่องการตลาดออนไลน์ของเรา เพื่อให้การบริการมีความสอดคล้องตรงกับความต้องการและความสนใจของท่านมากยิ่งขึ้น คุกกี้ประเภทนี้ต้องได้รับความยินยอมจากผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ก่อนจึงจะสามารถทำงานได้
คุณยืนยันที่จะลบข้อมูลการเก็บคุกกี้